comosa by mohjai herbal textbook comosa เป็นสมุนไพร สำหรับสตรี ที่มีปัญหาภายในตั้งแต่เล็ก จนใหญ่ ปวดประจำเดือน กระบังลมหย่อน ช่องคลอดไม่กระชับ มีกลิ่น ตกขาว ขุ่นข้นเหม็นคาว ก้าวไปเป็นมะเร็งในที่สุด ผิงพรรณไม่ผ่องใส มีสิวมีฝ้า หน้าตกกระ ภูมิแพ้ เป็นประดง เลือดลมไม่ดี มีความดัน ไขมันในเลือด สุขภาพไม่สมบูรณ์ ไม่เคยอยู่ไฟ สมัยคลอดบุตร ราคากล่องละ 950 บาท มี 30 แคปซูล ถ้าซื้อห้ากล่องขึ้นไป ราคา 600 บาทเท่านั้น ส่งให้ฟรี ทั่วโลก ติดต่อได้ที่ 028107832 www.patsiri.com
วันเสาร์ที่ 4 มิถุนายน พ.ศ. 2554
healthcaresiri: stritep mohjai
healthcaresiri: stritep mohjai: "ยาสตรีเทพ ตำรับหมอจ๋าย สืบทอดมาจากสมุนไพรแพทย์แผนโบราณนานหลายร้อยปี โดย Patsiri Longsiri เมื่อ 4 มิถุนายน 2011 เวลา 13:51 น. บันทึกของคุณถู..."
stritep mohjai
ยาสตรีเทพ ตำรับหมอจ๋าย สืบทอดมาจากสมุนไพรแพทย์แผนโบราณนานหลายร้อยปี
โดย Patsiri Longsiri เมื่อ 4 มิถุนายน 2011 เวลา 13:51 น.
บันทึกของคุณถูกสร้างแล้ว
ระวัติ สมุนไพรแผนโบราณ
ประวัติการแพทย์แผนโบราณ นั้นเริ่มมีบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ซึ่งในสมัยนั้นมีชายผู้หนึ่ง ชื่อ ชีวกโกมารภัจจ์ มีความสนใจศึกษาวิชาการแพทย์ เพราะเห็นว่าเป็นวิชาชีพ ที่ไ่ม่เบียดเบียฬผู้ใดท่านเป็นผู้ที่เปี่ยมไปด้วยความเมตตากรุณา ปราถนาที่จะให้มนุษย์มีความสุข จึงได้ไปศึกษาวิชาการแพทย์ ในสำนัก ทิศาปาโมกข์ แห่งเมืองตักศิลา ท่านเป็นผู้ที่ฉลาดมีความสามารถ ในการเรียนรู้เรียนได้มากเรียนได้เร็วความทรงจำดี ใช้เวลาเรียนน้อยกว่าผู้อื่น เมื่อจบวิชาการแพทย์แล้ว สามารถรักษาคนไข้ครั้งเดียวหายได้ในเวลาต่อมาพระเจ้าพิม0พิศาล ทรงประชวรด้วยโรคริดสีดวง ทวาร ก็ทรงโปรดให้หมอชีวกเข้าไปถวายการรักษาด้วยการทายาเพียงครั้งเดียวก็หาย จึงโปรดให้เป็นแพทย์หลวงประจำพระองค์ และบำรุงพระสงฆ์ นับว่าหมอชีวกโกมารภจน์ เป็นแพทย์ผู้มีความรู้ ความสามารถสมัยพุทธกาลมีผู้เคารพยกย่องมากมาย
ประวัติการแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย
การแพทย์แผนโบราณก่อนสมัยกรุงรัตนโกสินธิ์
ประวัติการแพทย์แผนโบราณในประเทศไทยนั้น ได้มีการค้นพบศิลาจารึกของอาณาจักรขอมประมาณปี พศ 1725-1729ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลโดยการสร้างสถานพนาบาล เรียกว่าอโรคยาศาลาโดยมีหน้าที่ทำการรักษาพยาบาล ได้แก่หมอ พยาบาล เภสัชกรรวม 92 คนมีพิธีกรรมบวงสรวงพระไภสชยคุรุไวฑูรย์ ด้วยยาและอาหาร ก่อนแจกจ่ายไปยังผู้ป่วย ต่อมามีการค้นพบหินบดยาสมัยทราวาราวดี และศิลาจารึกของพ่อขุนราคำแหงมหาราช ในสมัยสุโขทัยได้บันทึกไว้ว่า ทรงสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่บนเขาหลวงหรือเขาสรรพยา เพื่อให้ราษฏรได้เก็บสมุนไพรไปใช้รักษาโรคยามเจ็บป่วย
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้ค้นพบบันทึกว่า มีระบบการจัดทายาที่ชัดเจนสำหรับราษฏร มีแหล่งจำหน่ายยาหลายแห่ง ทั้งในและนอกกำแพงเมืองมีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนโฌบราณ เรียกว่า ตำราพระโอสถพระนารายณ์ การแพทย์แผนโบราณมีความรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะการนวด ในสมัยนั้นการแพทย์แผนตะวันตกเริ่มเข้ามามีบทบาท โดยมีมิชชันนารี่ชาวฝรั่งเศษเข้ามาจัดตั้งโรงพยาบาลรักษาโรค แต่ขาดความนิยมจึงได้ล้มเลิกไป
การแพทย์แผนโบราณในสมัยกรุงรัตนโกสินธิ์
รัชการที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม หรือวัดโพธิ์ ซึ่งเป็นพระอารามหลวง ให้ชื่อว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคาคลารามทรงให้รวบรวมและจารึกตำรายา ฤาษีดัดตน ตำราการนวดไว้ตามศาลาราย ส่วนการจัดหายาของทางราชการมีการจัดตั้งกรมหมอและโรงพระโอสถคล้ายกับในสมัยอยุทธยา แพทย์ที่รับราชการเรียกว่าหมอหลวงส่วนหมอที่รักษาราชการทั่วไปเรียกว่า หมอราษฏร หรือหมอเชลยศักดิ์
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพรพะเจ้าอยู่หัวพระพุทธเลิษหล้านภาลัยทรงเห็นว่าคัมภีร์แพทย์ณโรงพระโอสถสมัยอยุธยานั้นสูญหายไป เนื่องจากตอนนั้นมีสงครามกับพม่า 2 ครั้งบ้านเมืองถูกทำลายและราษฏรรวมทั้งหมอแผนโบราณถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยทำให้ตำรายาและข้อมูลเกี่ยวกับการแพทย์ของไทยถูกทำลายไปด้วยจึงมีพระบรมราชโองการให้เหล่าผู้ชำนาญโรคและสรรพคุณยา รวมทั้งผู้ที่มีตำรายานำเข้ามาถวายและให้กรมหมอหลวงคัดเลือก ให้จดเป็นตำราหลวงสำหรับโรงพระโอสถ และในปี พศ 2359มีพระบรมราชโองการโรดเกล้า กฏหมายพนักงานพระโอสถถวาย
รัชการที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่วเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนธ์วิมลมังคลารามอีกครั้งทรงโรดเกล้า ให้มีการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แผนโบราณแห่งแรก คือโรงเรียนแพทย์แผนวัดโพธิ์ ในงานฉลองวัดโพธิ์สมัยนั้น ทรงดำริว่า อันตำรายาไทยและการรักษาโรคแบบอื่นๆเช่นการบีบนวด ประคบ หมอที่มีชื่อเสียงต่างก็หวงตำราของแต่ละตนไว้เป็นความลับตลอดจนทรงดำริว่า การรักษาโรคทางตวันตกกำลังแผ่อิทธิพลเข้ามาในประเทศสยามและเวลาอันใกล้้น่าจะบดบังรัศมีของการแพทย์โบราณเสียหมดสิ้น สุดท้ายอาจไม่มีตำรายาไทยเหลืออยู่เพื่อประโยชน์ของอนุชนรุ่นหลังก็ได้ จึงทรงประกาศให้ผู้มีตำรับยาแผนโบราณทั้งหลายที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้เท่าาที่มีอยู่สมัยนั้น นำมาจารึกเป็นหลักฐานไว้บนหินอ่อน ประดับไว้บนผนังพระอุโบสถ ศาลาราย เสา และกำแพงวิหารคดของพระเจดีย์สี่องค์และตามศาลาต่างๆ ของวัดโพธิ์ ที่ปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้น การจารึกนี้เป็นตารายาบอกสมุฏฐานของโรคและวิธีการรักษา และยังได้มีการจัดหาสมุนไพรที่ใช้ปรุงยาสมุนไพร และหายากมาปลูกไว้ในวัดโพธิ์เป็นจำนวนมาก นอกจากนั้นได้ทรงให้ปั้นรูปฤาษีดัดตนในท่าต่างฟ เพื่อช่วยให้ผู้ประสงค์ฝึกำตนเป็นแพทย์ หรือหาทางบำบัดตนได้ศึกษาเป็นสาธารณะทาน นับว่าเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนรูปแบบหนึ่ง ตำรายาเหล่านี้พอจะทราบกันดีในบรรดาหมอไทยว่า ตำรายาดีจริงๆนั้น คงไม่ได้รับการเปิดเผยอย่างแท้จริงแต่ก็เป็นอนุสรณ์และเป็นโรงเรียนแพทย์ของเมืองไทย รัชสมัยนี้มีการนำเอาการแพทย์แผนตวัตตกเข้ามาเผยแพร่โดยคณะมิชชันนารี่ชาวอเมริกัน โดยการนำของนายแพทย์แดนบีชบรัดเลย์ ซึ่งคนไทยเรียกว่า หมอบรัดเลย์ เช่นการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ การใช้ยาเม็ด ควินินรักษาโรคไข้จับสั่น เป็นต้น
รัชการที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้้นำการแพทย์แผนตะวันตกมาใช้มากขึ้ันเช่นการสูติกรรมสมัยใหม่ แต่ไม่สารถให้ประชาชนเปลี่ยนความนิยมได้เพราะการรักษาพยาบาลแผนโบราณของไทย เป็นจารีตประเพณี และวัฒนธรรมสืบเนื่องกันมานานและเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของไทย
รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาราชมีการจัดตั้งศิราชพยาบาลใน พศ 2431 มีการเรียนการสอนและให้การรักษาทั้งการแพทยฺแผนโบราณและแผนตวันตกควบคู่กันไปทั้งสองอย่างร่วมกันหลักสูตร 3 ปีการจัดการเรียนการสอนและบริการรักษาการแพทย์ทังสองทั้งแผนโบราณและแผนตะวันตกร่วมกันเป็นไปด้วยความยากลำบากเข้ากันไม่ได้เพราะระบบมันไม่สอดคล้องกัน มีการขัดแย้งระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเป็นอย่างมากด้วยหลักการและแนวคิด และวิธีการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน ทำให้ยากที่จะผสมผสานกันได้ มีการพิมพ์ตำราแพทย?สำหรับใช้ในโรงเรียนแพทย์เป็นครั้งแรกในปี พศ 2438 โดยพญาพิษณุ ชื่อตำรา แพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม ซึ่งยังคงใช้เป็นตำรายามาจนถึงปัจจุบัน
รัชการที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการสั่งยกเลิกวิชาการแพทย์แผนโบราณและต่อมาในปี พศ 2466 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัคิการแพทย์ เป็นการควบคุมการประกอบโรคศิลป์ะ เพื่อป้องกันอันตราที่อาจเกิดกับประชาชนอันเนื่องมาจากการประกอบโรคศิลป์ขอองผู้ที่ไม่มีความรู้และมิได้ฝึกหัดด ด้วยความไม่พร้อมในด้านการเรียนการสอน และการประชาสัมพันธ์ทำให้หมอพื้นบ้านจำนวนมากกลัวถูกจับ จึงเลิกประกอบอาชีพนี้ บ้างก็เผาตำราทิ้ง บิดาของข้าพเจ้าก็เป็นคนหนึ่งที่มีความรู้ความชำนาญในวิชาแพทย์โบราณ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาจาก ปู่คล้าย สมัยรัชการที่3 ต้องหมดอาชีพ ยาสมุนไพรเต็มบ้านตัองทำลายทิ้งไป ข้าเจ้าเกิดมาทันประมาณ พศ 2484-2494 ได้ช่วยพ่อ ชั่งยาตามที่คนมาเจียดยา และตามที่พ่อหมอ จ๋าย หลงศิริ ได้ปรุงกัน ด้วยการบด การต้ม มีคาถากำกับ โดยการชั่งยา ใช้เหรียญบาทเป็นมาตราวัด เช่นยาหนักสองบาท ก็ชั่งโดยใช้เหรียญบาท สองอันเป็นต้น ต่อมาบิดาของข้าพเจ้าก็ได้ถึงแก่กรรมโดยโรคชราเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พศ 2498 ตำราก้ได้ตกทอดมายังพี่ชายคนโต ชื่อ สายบัว หลงศิริ และได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว พศ พศ 2553 เหลือตำราได้ตกทอดมา ถึงข้าพเจ้า เอามาทำยาสมุนไพร ร่วมกับโหลนของ หมอจ๋าย หลงศิริ ชื่อ จิรายุกุล หลงศิริ ซึ่งมีความรู้เรื่องสมุนไพรได้ปราชญ์เปรื่องเป็นที่เรื่องลือ ทำให้สรรพคุณ ยาตำรับหมอจ๋าย ได้ผลดีเป็นที่มหัศจรรย์ เพราะนอกจากจะได้ตำรับยาดีแล้ว เรายังเคารพเชิดชู ผู้มีพระคุณ ต้องกราบไหว้ ขอบารมีจากบรมครู เทพเทวา ให้การกินยาของคนไข้ได้ผล สืบทอดความกตัญญูรู้คุณ ที่ให้ตัวยาสืบทอดมาถึงพวกเรา เอารายได้มาใช้จ่ายแล้วแบ่งไปส่วนหนึ่งเพื่อทำบุญ อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้ทุกคนผู้เป็นบรมครู ถ่ายทอดความรู้สู่ตำรามาถึงเรา
รัชการที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ตรากฏหมายเสนาบดี แบ่งการประกอบโรคศีลป์ออกเป็น แผนปัจจุบัน และ แผนโบราณโดยกำหนดไว้ว่า
1 ประเภทแผนปัจจุบัน คือผู้ประกอบโรคศีลป์โดยความรู้จากตำราอันเป็นหลักวิชาการโดยสากลนิยม ซึ่งดำเนินและจำเริญขึ้น โดยอาศัยการศึกษา ตรวจค้น และทดลองของผู้รู้ในทางวิทยาศาสตร์
2 ประเภทแผนโบราณ คือ ผู้ประกอบโรคศีลป์โดยอาศัยความสังเกตุ ความชำนาญ อันได้สืบต่อกันมาเป็นที่ตั้ง หรืออาศัยตำราอันที่มาแต่โบราณ มิได้ดำเนินไปในทางวิทยาศาสตร์
รัชการที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในรัชสมัยนี้มีการจัดตั้งสมาคมของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ ได้ก่อตั้งขึ้นที่วัดโพธิ์ กรุงเทพ ปี พศ 2500นับแต่นั้นมา สมาคมต่างๆ ก็ได้แตกสาขาออกไป ปัจจุบันก็มีโรงเรียนแพทย์แผนโบราณที่มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องอยู่เป็นจำนวนมากทั้งในกรุงเทพ และตางจังหวัดในปี พศ 2525 ได้ก่อตั้งโรงเรียนอยุรเวทวิทยาลัยหรือ ชีวกโกมารภัจจ์ ได้ทำการอบรมศึกษาด้านการแพทย์แผนโบราณแบบประยุกต์มาจนกระทั่งทุกวันนี้
herb for health by www.patsiri.com contact 0866549864
http://www.bom5.com/8858
ประวัติการแพทย์แผนโบราณ นั้นเริ่มมีบันทึกไว้ตั้งแต่สมัยพุทธกาล ซึ่งในสมัยนั้นมีชายผู้หนึ่ง ชื่อ ชีวกโกมารภัจจ์ มีความสนใจศึกษาวิชาการแพทย์ เพราะเห็นว่าเป็นวิชาชีพ ที่ไ่ม่เบียดเบียฬผู้ใดท่านเป็นผู้ที่เปี่ยมไปด้วยความเมตตากรุณา ปราถนาที่จะให้มนุษย์มีความสุข จึงได้ไปศึกษาวิชาการแพทย์ ในสำนัก ทิศาปาโมกข์ แห่งเมืองตักศิลา ท่านเป็นผู้ที่ฉลาดมีความสามารถ ในการเรียนรู้เรียนได้มากเรียนได้เร็วความทรงจำดี ใช้เวลาเรียนน้อยกว่าผู้อื่น เมื่อจบวิชาการแพทย์แล้ว สามารถรักษาคนไข้ครั้งเดียวหายได้ในเวลาต่อมาพระเจ้าพิม0พิศาล ทรงประชวรด้วยโรคริดสีดวง ทวาร ก็ทรงโปรดให้หมอชีวกเข้าไปถวายการรักษาด้วยการทายาเพียงครั้งเดียวก็หาย จึงโปรดให้เป็นแพทย์หลวงประจำพระองค์ และบำรุงพระสงฆ์ นับว่าหมอชีวกโกมารภจน์ เป็นแพทย์ผู้มีความรู้ ความสามารถสมัยพุทธกาลมีผู้เคารพยกย่องมากมาย
ประวัติการแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย
การแพทย์แผนโบราณก่อนสมัยกรุงรัตนโกสินธิ์
ประวัติการแพทย์แผนโบราณในประเทศไทยนั้น ได้มีการค้นพบศิลาจารึกของอาณาจักรขอมประมาณปี พศ 1725-1729ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลโดยการสร้างสถานพนาบาล เรียกว่าอโรคยาศาลาโดยมีหน้าที่ทำการรักษาพยาบาล ได้แก่หมอ พยาบาล เภสัชกรรวม 92 คนมีพิธีกรรมบวงสรวงพระไภสชยคุรุไวฑูรย์ ด้วยยาและอาหาร ก่อนแจกจ่ายไปยังผู้ป่วย ต่อมามีการค้นพบหินบดยาสมัยทราวาราวดี และศิลาจารึกของพ่อขุนราคำแหงมหาราช ในสมัยสุโขทัยได้บันทึกไว้ว่า ทรงสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่บนเขาหลวงหรือเขาสรรพยา เพื่อให้ราษฏรได้เก็บสมุนไพรไปใช้รักษาโรคยามเจ็บป่วย
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์แห่งกรุงศรีอยุธยา ได้ค้นพบบันทึกว่า มีระบบการจัดทายาที่ชัดเจนสำหรับราษฏร มีแหล่งจำหน่ายยาหลายแห่ง ทั้งในและนอกกำแพงเมืองมีการรวบรวมตำรับยาต่างๆ ขึ้นเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์การแพทย์แผนโฌบราณ เรียกว่า ตำราพระโอสถพระนารายณ์ การแพทย์แผนโบราณมีความรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะการนวด ในสมัยนั้นการแพทย์แผนตะวันตกเริ่มเข้ามามีบทบาท โดยมีมิชชันนารี่ชาวฝรั่งเศษเข้ามาจัดตั้งโรงพยาบาลรักษาโรค แต่ขาดความนิยมจึงได้ล้มเลิกไป
การแพทย์แผนโบราณในสมัยกรุงรัตนโกสินธิ์
รัชการที่ 1 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรงปฏิสังขรณ์วัดโพธาราม หรือวัดโพธิ์ ซึ่งเป็นพระอารามหลวง ให้ชื่อว่า วัดพระเชตุพนวิมลมังคาคลารามทรงให้รวบรวมและจารึกตำรายา ฤาษีดัดตน ตำราการนวดไว้ตามศาลาราย ส่วนการจัดหายาของทางราชการมีการจัดตั้งกรมหมอและโรงพระโอสถคล้ายกับในสมัยอยุทธยา แพทย์ที่รับราชการเรียกว่าหมอหลวงส่วนหมอที่รักษาราชการทั่วไปเรียกว่า หมอราษฏร หรือหมอเชลยศักดิ์
รัชกาลที่ 2 พระบาทสมเด็จพรพะเจ้าอยู่หัวพระพุทธเลิษหล้านภาลัยทรงเห็นว่าคัมภีร์แพทย์ณโรงพระโอสถสมัยอยุธยานั้นสูญหายไป เนื่องจากตอนนั้นมีสงครามกับพม่า 2 ครั้งบ้านเมืองถูกทำลายและราษฏรรวมทั้งหมอแผนโบราณถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลยทำให้ตำรายาและข้อมูลเกี่ยวกับการแพทย์ของไทยถูกทำลายไปด้วยจึงมีพระบรมราชโองการให้เหล่าผู้ชำนาญโรคและสรรพคุณยา รวมทั้งผู้ที่มีตำรายานำเข้ามาถวายและให้กรมหมอหลวงคัดเลือก ให้จดเป็นตำราหลวงสำหรับโรงพระโอสถ และในปี พศ 2359มีพระบรมราชโองการโรดเกล้า กฏหมายพนักงานพระโอสถถวาย
รัชการที่ 3 พระบาทสมเด็จพระนั่วเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงปฏิสังขรณ์วัดพระเชตุพนธ์วิมลมังคลารามอีกครั้งทรงโรดเกล้า ให้มีการจัดตั้งโรงเรียนแพทย์แผนโบราณแห่งแรก คือโรงเรียนแพทย์แผนวัดโพธิ์ ในงานฉลองวัดโพธิ์สมัยนั้น ทรงดำริว่า อันตำรายาไทยและการรักษาโรคแบบอื่นๆเช่นการบีบนวด ประคบ หมอที่มีชื่อเสียงต่างก็หวงตำราของแต่ละตนไว้เป็นความลับตลอดจนทรงดำริว่า การรักษาโรคทางตวันตกกำลังแผ่อิทธิพลเข้ามาในประเทศสยามและเวลาอันใกล้้น่าจะบดบังรัศมีของการแพทย์โบราณเสียหมดสิ้น สุดท้ายอาจไม่มีตำรายาไทยเหลืออยู่เพื่อประโยชน์ของอนุชนรุ่นหลังก็ได้ จึงทรงประกาศให้ผู้มีตำรับยาแผนโบราณทั้งหลายที่มีสรรพคุณดีและเชื่อถือได้เท่าาที่มีอยู่สมัยนั้น นำมาจารึกเป็นหลักฐานไว้บนหินอ่อน ประดับไว้บนผนังพระอุโบสถ ศาลาราย เสา และกำแพงวิหารคดของพระเจดีย์สี่องค์และตามศาลาต่างๆ ของวัดโพธิ์ ที่ปฏิสังขรณ์ในครั้งนั้น การจารึกนี้เป็นตารายาบอกสมุฏฐานของโรคและวิธีการรักษา และยังได้มีการจัดหาสมุนไพรที่ใช้ปรุงยาสมุนไพร และหายากมาปลูกไว้ในวัดโพธิ์เป็นจำนวนมาก นอกจากนั้นได้ทรงให้ปั้นรูปฤาษีดัดตนในท่าต่างฟ เพื่อช่วยให้ผู้ประสงค์ฝึกำตนเป็นแพทย์ หรือหาทางบำบัดตนได้ศึกษาเป็นสาธารณะทาน นับว่าเป็นการจัดการศึกษาให้กับประชาชนรูปแบบหนึ่ง ตำรายาเหล่านี้พอจะทราบกันดีในบรรดาหมอไทยว่า ตำรายาดีจริงๆนั้น คงไม่ได้รับการเปิดเผยอย่างแท้จริงแต่ก็เป็นอนุสรณ์และเป็นโรงเรียนแพทย์ของเมืองไทย รัชสมัยนี้มีการนำเอาการแพทย์แผนตวัตตกเข้ามาเผยแพร่โดยคณะมิชชันนารี่ชาวอเมริกัน โดยการนำของนายแพทย์แดนบีชบรัดเลย์ ซึ่งคนไทยเรียกว่า หมอบรัดเลย์ เช่นการปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษ การใช้ยาเม็ด ควินินรักษาโรคไข้จับสั่น เป็นต้น
รัชการที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้้นำการแพทย์แผนตะวันตกมาใช้มากขึ้ันเช่นการสูติกรรมสมัยใหม่ แต่ไม่สารถให้ประชาชนเปลี่ยนความนิยมได้เพราะการรักษาพยาบาลแผนโบราณของไทย เป็นจารีตประเพณี และวัฒนธรรมสืบเนื่องกันมานานและเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตของไทย
รัชกาลที่ 5พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาราชมีการจัดตั้งศิราชพยาบาลใน พศ 2431 มีการเรียนการสอนและให้การรักษาทั้งการแพทยฺแผนโบราณและแผนตวันตกควบคู่กันไปทั้งสองอย่างร่วมกันหลักสูตร 3 ปีการจัดการเรียนการสอนและบริการรักษาการแพทย์ทังสองทั้งแผนโบราณและแผนตะวันตกร่วมกันเป็นไปด้วยความยากลำบากเข้ากันไม่ได้เพราะระบบมันไม่สอดคล้องกัน มีการขัดแย้งระหว่างผู้สอนและผู้เรียนเป็นอย่างมากด้วยหลักการและแนวคิด และวิธีการเรียนการสอนที่แตกต่างกัน ทำให้ยากที่จะผสมผสานกันได้ มีการพิมพ์ตำราแพทย?สำหรับใช้ในโรงเรียนแพทย์เป็นครั้งแรกในปี พศ 2438 โดยพญาพิษณุ ชื่อตำรา แพทย์ศาสตร์สังเขป 3 เล่ม ซึ่งยังคงใช้เป็นตำรายามาจนถึงปัจจุบัน
รัชการที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวมีการสั่งยกเลิกวิชาการแพทย์แผนโบราณและต่อมาในปี พศ 2466 มีการประกาศใช้พระราชบัญญัคิการแพทย์ เป็นการควบคุมการประกอบโรคศิลป์ะ เพื่อป้องกันอันตราที่อาจเกิดกับประชาชนอันเนื่องมาจากการประกอบโรคศิลป์ขอองผู้ที่ไม่มีความรู้และมิได้ฝึกหัดด ด้วยความไม่พร้อมในด้านการเรียนการสอน และการประชาสัมพันธ์ทำให้หมอพื้นบ้านจำนวนมากกลัวถูกจับ จึงเลิกประกอบอาชีพนี้ บ้างก็เผาตำราทิ้ง บิดาของข้าพเจ้าก็เป็นคนหนึ่งที่มีความรู้ความชำนาญในวิชาแพทย์โบราณ ได้ศึกษาเล่าเรียนมาจาก ปู่คล้าย สมัยรัชการที่3 ต้องหมดอาชีพ ยาสมุนไพรเต็มบ้านตัองทำลายทิ้งไป ข้าเจ้าเกิดมาทันประมาณ พศ 2484-2494 ได้ช่วยพ่อ ชั่งยาตามที่คนมาเจียดยา และตามที่พ่อหมอ จ๋าย หลงศิริ ได้ปรุงกัน ด้วยการบด การต้ม มีคาถากำกับ โดยการชั่งยา ใช้เหรียญบาทเป็นมาตราวัด เช่นยาหนักสองบาท ก็ชั่งโดยใช้เหรียญบาท สองอันเป็นต้น ต่อมาบิดาของข้าพเจ้าก็ได้ถึงแก่กรรมโดยโรคชราเมื่อเดือน กุมภาพันธ์ พศ 2498 ตำราก้ได้ตกทอดมายังพี่ชายคนโต ชื่อ สายบัว หลงศิริ และได้ถึงแก่กรรมไปแล้ว พศ พศ 2553 เหลือตำราได้ตกทอดมา ถึงข้าพเจ้า เอามาทำยาสมุนไพร ร่วมกับโหลนของ หมอจ๋าย หลงศิริ ชื่อ จิรายุกุล หลงศิริ ซึ่งมีความรู้เรื่องสมุนไพรได้ปราชญ์เปรื่องเป็นที่เรื่องลือ ทำให้สรรพคุณ ยาตำรับหมอจ๋าย ได้ผลดีเป็นที่มหัศจรรย์ เพราะนอกจากจะได้ตำรับยาดีแล้ว เรายังเคารพเชิดชู ผู้มีพระคุณ ต้องกราบไหว้ ขอบารมีจากบรมครู เทพเทวา ให้การกินยาของคนไข้ได้ผล สืบทอดความกตัญญูรู้คุณ ที่ให้ตัวยาสืบทอดมาถึงพวกเรา เอารายได้มาใช้จ่ายแล้วแบ่งไปส่วนหนึ่งเพื่อทำบุญ อุทิศส่วนบุญส่วนกุศลให้ทุกคนผู้เป็นบรมครู ถ่ายทอดความรู้สู่ตำรามาถึงเรา
รัชการที่ 7พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ตรากฏหมายเสนาบดี แบ่งการประกอบโรคศีลป์ออกเป็น แผนปัจจุบัน และ แผนโบราณโดยกำหนดไว้ว่า
1 ประเภทแผนปัจจุบัน คือผู้ประกอบโรคศีลป์โดยความรู้จากตำราอันเป็นหลักวิชาการโดยสากลนิยม ซึ่งดำเนินและจำเริญขึ้น โดยอาศัยการศึกษา ตรวจค้น และทดลองของผู้รู้ในทางวิทยาศาสตร์
2 ประเภทแผนโบราณ คือ ผู้ประกอบโรคศีลป์โดยอาศัยความสังเกตุ ความชำนาญ อันได้สืบต่อกันมาเป็นที่ตั้ง หรืออาศัยตำราอันที่มาแต่โบราณ มิได้ดำเนินไปในทางวิทยาศาสตร์
รัชการที่ 9 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดชมหาราช ในรัชสมัยนี้มีการจัดตั้งสมาคมของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ ได้ก่อตั้งขึ้นที่วัดโพธิ์ กรุงเทพ ปี พศ 2500นับแต่นั้นมา สมาคมต่างๆ ก็ได้แตกสาขาออกไป ปัจจุบันก็มีโรงเรียนแพทย์แผนโบราณที่มีการดำเนินการอย่างต่อเนื่องอยู่เป็นจำนวนมากทั้งในกรุงเทพ และตางจังหวัดในปี พศ 2525 ได้ก่อตั้งโรงเรียนอยุรเวทวิทยาลัยหรือ ชีวกโกมารภัจจ์ ได้ทำการอบรมศึกษาด้านการแพทย์แผนโบราณแบบประยุกต์มาจนกระทั่งทุกวันนี้
herb for health by www.patsiri.com contact 0866549864
http://www.bom5.com/8858
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)